อดีตคณะกรรมการสถาบัน


ผศ.ดร.ขจีพร วงศ์ปรีดี
วัน-เดือน-ปี-เกิด
  • 20 มีนาคม 2518
ตำแหน่งปัจจุบัน
  • คณบดี วิทยาลัยอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ประวัติการศึกษา
  • พ.ศ.2546 - Ph.D. (Materials Science & Engineering), Iowa State University, IA, USA
  • พ.ศ.2542 - M.Eng (materials Science & Engineering), Lehigh University, PA, USA
  • พ.ศ.2539 - ปริญญาตรี วัสดุศาสตร์ (อัญมณีและเครื่องประดับ) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ด้าน Jewelry production, metallurgy, innovation management

ผลงานทางวิชาการ
บทความวิจัย/วิชาการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติและนานาชาติ
  1. Virutamasen, P., Wongpreedee, K., Kumsook, K., & Phansuwan-Pujito, P. (2016). Competency Assessment for Branding Programs Development in Thailand’s Higher Education, Procedia-Social and Behavioral Sciences, 228, 402-406.
  2. Ruethaitananon, P., Praphairaksit, N., & Wongpreedee, K. (2015). The Development of Bi-Ag Sandwich Sheets for Fire Assay Applications, Applied Mechanics and Materials, 752-753, 444-447.
  3. Wongpreedee, K., Kiratisin, A., & Virutamasen, P. (2015). Entrepreneurial Mindsets for Innovative Brand Development: Case Studies in Jewellery Education, Procedia - Social and Behavioral Sciences, 195, 2236-2241.
  4. Virutamasen, P., Wongpreedee, K., & Kumnungwut, W. (2015). Strengthen Brand Association through SE: Institutional Theory Revisited, Procedia - Social and Behavioral Sciences, 195, 192-196
  5. Wongpreedee, K., Phichaikamjornwut, B., Kiratisin, A., & Tocharoen, S. (2014). Jewelry Education Evolution and the Promise of Future Jewelry Technologies, The 28th Santa Fe Symposium on Jewelry Manufacturing Technology, 2014.
  6. Srisukho, P. & Wongpreedee, K. (2013). The Effects of Depositing Sn-Ag-Cu-S Systems at Different Temperatures on Silver Substrates, Advanced Materials Research, 787,167-171.
  7. Wongpreedee, K., Ruethaitananon, P., & Isariyamateekun, T. (2013). Interface Layers of Ag-Al Fusing Metals by Casting Processes, Advanced Materials Research, 787, 341-345.
  8. ภัทรา ศรีสุโข และ ขจีพร วงศ์ปรีดี, (2556). ความสัมพันธ์ของอุณหภูมิกับกระบวนการผลิตยาถมดำปราศจากตะกั่ว, วารสารวิทยาศาสตร์ มศว, ฉบับ 29 (2). 176-186.
  9. ณัฐกร จิรตระกูล และ ขจีพร วงศ์ปรีดี, (2551). ความสัมพันธ์ของระยะห่างและความหนาแน่นของเฟสที่มีต่อสมบัติเชิงกลของลวดเงินสเตอริง, วารสารวิทยาศาสตร์ ม.นเรศวร, ฉบับ 5 (1). 64-75.
  10. Wongpreedee, K. & Russell, A.M. (2007). The stability of Pt nanofilaments in Au matrix composites, Gold Bulletin, 40 (3), 199-205.
  11. ปราโมทย์ ธีรทีปวิวัฒน์ และ ขจีพร วงศ์ปรีดี, (2550). ทองสีม่วงกับมุมมองในอนาคต, วารสารวิทยาศาสตร์ ม.บูรพา, ฉบับที่ 12 (2). 71-77.
  12. ธนภรณ์ ตันสกุล และ ขจีพร วงศ์ปรีดี, (2550). การศึกษาการหล่อแพลตินัมด้วยวิธีหล่อเหวี่ยงสุญญากาศภายใต้บรรยากาศแบบอาร์กอน, วารสารงานหล่อโลหะ, ฉบับที่ 17 (3). 40-45.
  13. ขจีพร วงศ์ปรีดี และสุพิชฌา สุพรรณสมบูรณ์, (2550). วิวัฒนาการของกระบวนการผลิตโลหะมีค่า Processing Innovation of Precious Metal in Gems and Jewelry, วารสารวิทยาศาสตร์ มศว, ฉบับ 23 (1). 121.
  14. Wongpreedee, K. & Russell, A.M. (2003), (2004) Kinetic Transformation of Nanofilamentary Au Metal-Metal Composites, The Proceeding of International Conference on the Science, Technology, and Industrial Applications of Gold, Vancouver, BC, Canada, September (2003). Also Gold Bulletin, 37 (3-4), 174.
  15. Wongpreedee, K., Russell, A.M. & Chumbley, L.S. (2003). Thermal Stability of Deformation Processed Gold-Silver Composite, Scripta Materialia, 49 (5), 399-403.
  16. Lee, K.L., Whitehouse, A.F., Russell, A.M., Wongpreedee, K., Hong, S.I., & Withers, P.J. (2003). Elevated Temperature Tensile Properties and Failure of a Copper-Chromium In-Situ Composite, Journal of Materials Science, 38 (16), 3437.
  17. Xu, K., Wongpreedee, K. & Russell, A.M. (2002). Microstructure and Strength of a Deformation Processed Al-20%Sn In-situ Composite", Journal of Materials Science, 37(24), 5209-5214.
  18. Wheelock, P.B., Wongpreedee, K., Russell, A.M., & Chumbley, L.S. (2002). A Deformation Processed Ti + Y Metal Metal Composite", Journal of Materials Science, 37(20), 4307-4313.
  19. Gantovnik, V., Russell, A.M., Chumbley, L.S., Wongpreedee, K., & Field, D.(2000). Deformation Processed Gold-matrix Composites, Gold Bulletin, 33(4),128-137.
บทความวิชาการ/วิจัยฉบับสมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ
  1. Wongpreedee, K., Sinsahuang, K., Intanakom, J., Tanechpongtam, W., Phansuwan-Pujito, P. (2016). Education for Sustainable Development : a Strategic Tool for Quality Improvement of Higher Education, 2nd International Conference on Higher Education Advances, HEAd’16, Valencia.
  2. Wongpreedee, K. (2015). Jewelry Manufacturing Mindsets from OEM to OBM, 10th International Conference Business and Commerce (ICBC), Thailand, December, 20, 2015. (keynote speaker)
  3. Wongpreedee, K., Ruethaitananon, P., Vichapoon, K., Suwanvijit, J., Muangthai, T., Praphairaksit, N. (2014). Preliminary Study on the Use of Lead Free Fire Assay for the Determination of Gold Fineness, The 4th International Gem & Jewelry Conference (GIT 2014), Holiday Inn Chiangmai Thailand, December, 8-9, 2014.
  4. สุรชัย พรสมิทธิกุล และ ขจีพร วงศ์ปรีดี. (2557). กระบวนการผลิตที่สัมพันธ์กับการเกิดลวดลายของเครื่องประดับ โมกุเม่ กาเน่ , การประชุมวิชาการระดับชาติ “มศว วิจัย ครั้งที่8” วันที่ 26-27 พฤศจิกายน 2557 (นำเสนอด้วยปากเปล่า)
  5. Wongpreedee, K., Phichaikamjornwut, B., Kiratisin, A., Tocharoen, S. (2014). Jewelry Education Evolution and the Promise of Future Jewelry Technologies, The 28th Santa Fe Symposium on Jewelry Manufacturing Technology 2014.
  6. Wongpreedee, K. (2012). Science Innovation from Thai Wisdom Prodigy: A Success Case of Nielloware, 38th Congress on Science and Technology of Thailand, October, 17-19, 2012, Bangkok Thailand. (invited speaker)
  7. Wongpreedee, K., Jiambutr, P., Sathukijchai, T., & Ruethaitananon, P. (2012). Mokume Gane Processes as a Mass Production in Jewelry Industry, The 3rd International Gem & Jewelry Conference (GIT2012) December, 12-16, 2012, Bangkok Thailand and Pailin Cambodia. (นำเสนอโปสเตอร์)
  8. Wongpreedee, K., Srisukho, P., Ruethaithananon, P. (2012). The Metallurgy Evolutions of Thai Nielloware from Lead to Lead-Free alloy composition of Niello bars, The 3rd International Gem & Jewelry Conference (GIT2012) December, 12-16, 2012, Bangkok Thailand and Pailin Cambodia. (นำเสนอด้วยปากเปล่า)
  9. Wongpreedee, K. & Ruethaithananon, P. (2012). Effects of alloy additions (In and Ag) in Brass and Bronze alloys for jewelry applications‏. The 3rd International Gem & Jewelry Conference (GIT2012) December, 12-16, 2012, Bangkok Thailand and Pailin Cambodia. (นำเสนอโปสเตอร์)
  10. Wongpreedee, K., Srisukho, P., Kaimuk, N., Sae-ung, P., & Settha o-larn, S. (2012). Interface layers of Sn-Ag-Cu-S Nielli Inlay in Brass Alloys 38th Congress on Science and Technology of Thailand, October 17-19, 2012, Chaing Mai Thailand. (นำเสนอด้วยปากเปล่า)
  11. Srisukho, P., Ruethaithananon, P., & Wongpreedee, K. (2011). Microstructure and Segregation of Sn-Ag-Cu-S Nielli-Inlay Alloys for Jewelry Industry, 37th Congress on Science and Technology of Thailand, Bangkok Thailand, October 2011. (นำเสนอด้วยปากเปล่า)
  12. Wongpreedee, K. & Ruethaithananon, P. (2009). Microstructure of Au-Al systems Manipulated by Rapid Solidification Techniques, Gold 2009: The 5th international conference on gold science, technology and its applications, Heidelberg, Germany, July 2009. (นำเสนอด้วยปากเปล่า)
  13. Wongpreedee, K., Eakwongmunkong, W., Lertchaisataparn, U., Meekaew, S., Praphairaksit, N., & Wanakamol, P. (2009). Microstructure and Young’s Modulus Study of Au-Al-In Alloy, Gold 2009: The 5th international conference on gold science, technology and its applications, Heidelberg, Germany, July 2009. (นำเสนอด้วยปากเปล่า)
  14. Wongpreedee, K., Srisung, S., Sanor, K., Komanee, K., & Seaneekatima, N. (2009). Particle Morphology of Gold on Purple Gold Refining, Gold 2009: The 5th international conference on gold science, technology and its applications, Heidelberg, Germany, July 2009. (นำเสนอโปสเตอร์)
  15. Wongpreedee, K. (2008). The progress of purple gold products and its science approach, The 2nd International Gem & Jewelry Conference (GIT 2008) December, 2008, Bangkok Thailand. (นำเสนอด้วยปากเปล่า)
  16. Sadboonlue, P., Wanakamol, P., & Wongpreedee, K. (2008). The microstructure of Si, Ni, Co, Zn addition elements in AuAl2, The 2nd International Gem & Jewelry Conference (GIT 2008) December, 11-14, 2008, Bangkok and Kanchanaburi, Thailand. (นำเสนอโปสเตอร์)
  17. ขจีพร วงศ์ปรีดี และธนภรณ์ ตันสกุล (2550). Third addition alloys to intermetallics of purple gold and its cohesive strength, Science Naresuan Conference 1st มหาวิทยาลัยนเรศวร, มีนาคม 2550, 1 (O-A11) (นำเสนอด้วยปากเปล่า)
  18. Wongpreedee, K., Tansakul, T., Schuster, H.J., & Chookruvong, K. (2006). Purple gold: Past, present and future to ductile intermetallics, Gold 2006: International Conference on the Science, Technology, and Industrial Applications, Ireland, September 2006. (นำเสนอด้วยปากเปล่า)
  19. Wongpreedee, K. (2006). Intermetallics: precious metal systems for jewelry industry, The 1st GIT International Gem & Jewelry Conference (GIT 2006), Bangkok, Thailand, December 2006. (นำเสนอโปสเตอร์)
  20. ขจีพร วงศ์ปรีดี ธนภรณ์ ตันสกุล ปราโมทย์ ธีระวิวัฒน์ อลัน รัสเซล และบูรส คุกส์ (2549). Wettability of AlMgB14 and SiC particles on Al matrix composite, ประชุมสกว. เมธีวิจัยพบนักวิจัยรุ่นใหม่ ชะอำ ประเทศไทย, ตุลาคม 2549 (นำเสนอด้วยปากเปล่า)
  21. ขจีพร วงศ์ปรีดี อลัน รัสเซล และบูรส คุกส์ (2548). The study of sintering and consolidation of Al powder and AlMgB14 matrix, ประชุมสกว. เมธีวิจัยพบนักวิจัยรุ่นใหม่ ชะอำ ประเทศไทย, ตุลาคม 2548 (นำเสนอโปสเตอร์)
  22. Wongpreedee, K., Russell, A.M., & Gschneidner, K.A. (2004). The Mechanical Properties of RE-Ag Intermetallic Compound. The Proceeding of International Precious Metal Conference, Phoenix, AZ, USA, June, 2004. (นำเสนอด้วยปากเปล่า)
  23. ธนภรณ์ ตันสกุล ขจีพร วงศ์ปรีดี และ ดวงมณี ลออรรถพงศ์ (2547). Raman scattering in relaxor ferroelectric Pb (Zn1/3Nb2/3) O3”, 30th Congress on Science and Technology of Thailand (D0051 (Physics), กรุงเทพ, ประเทศไทย, ตุลาคม 2547. (นำเสนอโปสเตอร์)
  24. Wongpreedee, K., Russell, A.M., & Gschneidner, K.A. (2004). The Future Application of Rare Earth-Ag Ductile Intermetallic Compound 30th Congress on Science and Technology of Thailand, Bangkok Thailand, October 2547. (นำเสนอด้วยปากเปล่า)
  25. Wongpreedee, K. & Russell, A.M. (2003). Kinetic Transformation of Nanofilamentary Au Metal-Metal Composites, Gold 2003: International Conference on the Science, Technology, and Industrial Applications, Vancouver, BC, Canada, September 2003. (นำเสนอด้วยปากเปล่า)
หนังสือ
  1. ขจีพร วงศ์ปรีดี, (2557). จากงานวิจัย...สู่ชุมชน...“ยาถมดำปราศจากตะกั่ว”. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง, 2557.
  2. ขจีพร วงศ์ปรีดี, (2551). เอกสารประกอบการสอนเทคโนโลยีการหล่อเครื่องประดับ, 2551
  3. ขจีพร วงศ์ปรีดี สุภิญญา วงษ์ศรีรักษา และปริชญา ขจิตกาญจน์, (2549). เทคนิคการหล่อพร้อมฝังพลอย กรุงเทพมหานคร. โครงการเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันธุรกิจแฟชั่นสาขาอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ ภายใต้โครงการกรุงเทพฯ เมืองแฟชั่น, 2549.
  4. ขจีพร วงศ์ปรีดี และสุพิชฌา สุพรรณสมบูรณ์, (2549). เทคนิคการดึงหลอด. กรุงเทพมหานคร. โครงการเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันธุรกิจแฟชั่นสาขาอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ ภายใต้โครงการกรุงเทพฯ เมืองแฟชั่น, 2549
ทุนวิจัย
หัวหน้าโครงการวิจัย
  1. โครงการวิจัย การผลิตภัณฑ์เครื่องประดับและเครื่องตกแต่งบ้านด้วยภูมิปัญญาอัตลักษณ์ โครงการInnovation Hubs เพื่อสร้างเศรษฐกิจฐานนวัตกรรมของประเทศตามนโยบาย 4.0 กลุ่มเรื่องเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) ทุนวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการการอุมศึกษาแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2560
  2. โครงการวิจัย การพัฒนาเครื่องผลิตก๊าซไฮโดรเจนให้เป็นที่ยอมรับของอุตสาหกรรม ทุนวิจัยจาก ITAP สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ธันวาคม 2560 – พฤษภาคม 2561
  3. โครงการวิจัย การพัฒนาสีของแท่งยาถมปราศจากตะกั่ว ทุนวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ ปีงบประมาณ 2560
  4. โครงการวิจัย โลหะวิทยาของแพลทินัมสีเพื่อการผลิตเครื่องประดับ ทุนวิจัยเงินงบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีงบประมาณ 2560
  5. โครงการวิจัย การถ่ายทอดเทคโนโลยีแท่งถมเพื่อการพัฒนาตราสินค้าและผลิตภัณฑ์ชุมชน ทุนวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ เมษายน 2559
  6. โครงการวิจัย การฝังพร้อมหล่อที่เหมาะสมสำหรับพลอยธรรมชาติทัวร์มาลีนสีเขียวหลังผ่านขบวนการออกซิเจนพลาสมา ทุนวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีงบประมาณ 2559
  7. โครงการวิจัย การสร้างเครื่องต้นแบบของกระบวนการผลิตและการปรับปรุงคุณภาพแท่งยาถมไร้สารตะกั่วสำหรับการส่งออก ทุนวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีงบประมาณ 2559
  8. โครงการวิจัย กระบวนการผลิตเบ้าบิสมัทสำหรับการวิเคราะห์ความบริสุทธิ์ของทองคำด้วยเทคนิค Fire Assay ทุนวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีงบประมาณ 2558-2559
  9. โครงการวิจัย กระบวนการขัดกับการพัฒนาโลหะทดแทนสีขาวเพื่อสร้างทางเลือกของผลิตภัณฑ์ในอุตสาหกรรมเครื่องประดับ ทุนวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีงบประมาณ 2558
  10. โครงการวิจัย การศึกษาการหล่อพร้อมฝังของพลอยเนื้ออ่อนจากธรรมชาติและพลอยเนื้ออ่อนที่ผ่านการปรับปรุงคุณภาพ ทุนวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีงบประมาณ 2557-2558
  11. โครงการวิจัย กระบวนการผลิตและประเภทของโลหะที่สัมพันธ์กับการทำนายลวดลายของโมกุเม่กาเน่ ทุนวิจัยจากงบประมาณรายได้ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีงบประมาณ 2557-2558
  12. โครงการวิจัย การศึกษาความสัมพันธ์ของสมบัติความเปราะของทองสีม่วงกับกระบวนการเย็นตัวด้วยเทคนิคจุลทรรศน์อิเลกตรอนแบบส่องผ่าน ทุนวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีงบประมาณ 2555-2556
  13. โครงการวิจัย ศึกษาสภาวะการเกิดสีของโลหะประสมเงินอลูมิเนียมด้วยเทคนิคแอโนไดซ์ ทุนวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีงบประมาณ 2555-2556
  14. โครงการวิจัย โครงสร้างและสมบัติของอัลลอยสีขาวเพื่อทดแทนอัลลอยในเครื่องประดับเงิน ทุนวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีงบประมาณ 2555-2556
  15. โครงการวิจัย การพัฒนากระบวนการผลิตเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของธุรกิจผลิตตัวเรือนเครื่องประดับ ทุนวิจัยจาก ITAP สำนักงานพัฒนาวิทยาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กรกฎาคม - ธันวาคม 2555
  16. โครงการวิจัย การวิจัยและพัฒนาการควบคุมคุณภาพด้านการผลิตและมาตรฐานความบริสุทธิ์ของทองคำแท่ง ทุนวิจัยจากสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ตุลาคม- ธันวาคม 2555
  17. โครงการวิจัย Test Development to Characterize EAMR slider and laser diode attachment, ทุนวิจัยจาก Western Digital ตุลาคม 2554 – กันยายน 2555
  18. โครงการวิจัย การพัฒนาเทคโนโลยีของการหลอมและมาตรฐานความบริสุทธิ์ของทองคำแท่ง ทุนวิจัยจาก ITAP สำนักงานพัฒนาวิทยาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 2552
  19. โครงการวิจัย การทำนายความแข็งโดยการวัดค่าความต้านทานทางไฟฟ้า ทุนวิจัยจาก IRPUS สกว กรกฎาคม 2551-มีนาคม 2552
  20. โครงการวิจัย การพัฒนากระบวนการผลิตทองสีม่วงเพื่อพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ ทุนวิจัยจาก สกอ.2550-2551
  21. โครงการวิจัย นวัตกรรมการประดิษฐ์ทองสีม่วงในประเทศไทย ทุนวิจัยจากสมาคมผู้ค้าอัญมณีและเครื่องประดับ กุมภาพันธ์ 2551- พฤษภาคม 2551
  22. โครงการวิจัย การศึกษาการหล่องานแพลตินัม ทุนวิจัยจาก J.F.L. (Thailand) Co., Ltd., ตุลาคม 2549 to มกราคม 2550
  23. โครงการวิจัย การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้าง กระบวนการผลิต และ คุณสมบัติของวัสดุผสม Al-AlMgB14 ทุนวิจัยจาก สกว. ทุนนักวิจัยรุ่นใหม่ 2547-2549
ผู้ร่วมโครงการวิจัย
  1. โครงการวิจัย การนำเทคนิค Fire Assay แบบปราศจากตะกั่วมาใช้ในการวิเคราะห์ความบริสุทธิ์ของทองคำที่ใช้ในเชิงพาณิชย์ ทุนวิจัยจากสถาบันวิจัยอัญมณีและเครื่องประดับแห่งชาติ (องค์การมหาชน) 2557-2558
  2. โครงการวิจัย การพัฒนาวิธีวิเคราะห์ความบริสุทธิ์ของทองคำด้วยวิธีการ Fire Assay แบบปลอดตะกั่ว ทุนวิจัยจากสถาบันวิจัยอัญมณีและเครื่องประดับแห่งชาติ (องค์การมหาชน) 2556-2557
  3. โครงการวิจัย ทองคำกะรัตหลากสี ทุนวิจัยจากสถาบันวิจัยและพัฒนาเครื่องประดับแห่งชาติ พฤษภาคม 2551- พฤษภาคม 2552
รางวัลที่ได้รับ
  1. Gold Award สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ บูทนิทรรศการของ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ผลงานวิจัยเรื่อง Green Jewelry: นวัตกรรมแท่งถมปราศจากตะกั่วเพื่อการส่งออก 2558
  2. The Marquis Who’s Who in the world, 28th edition, 2554 (รางวัลระดับนานาชาติที่ให้โดยองค์กรที่ทำการคัดเลือกบุคคลที่มีส่วนในการพัฒนาความรู้ โดยเผยแพร่ชีวประวัติและความสำเร็จในการทำงานลงในหนังสือที่ทำการเผยแพร่ในห้องสมุดทั่วโลก)
  3. Mrs. Glenn Murphy International Award, Iowa State University Women’s Club, IA, USA., 2546 (รางวัลยกย่องนักเรียนชาวต่างชาติที่มีกิจกรรมร่วมกับมหาวิทยาลัยไอโอวาซึ่งมอบให้นักศึกษาชาวต่างชาติเพศหญิง 6 คนในทุกปี)
  4. IPMI Research Student Award, The International Precious Metal Institute, FL, USA., 2545 (รางวัลที่มอบให้นักเรียนระดับบัณฑิตศึกษาที่มีผลงานโดดเด่นทางด้านงานวิจัยโลหะมีค่า ถูกคัดเลือกจำนวน 5 คนจากทั่วโลกในทุกปี)
  5. ทุนการศึกษา Royal Thai Government Scholarship, ประเทศไทย 2540-2546 (ทุนการศึกษาระดับชาติ ปริญญาโท- ปริญญาเอก ในสหรัฐอเมริกา)
  6. นักเรียนตัวอย่าง คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพมหานคร, ประเทศไทย, 2537 (รางวัลมอบให้กับนักเรียนที่มีผลงานเป็นควรแก่การยกย่องทั้งทางด้านการเรียนและกิจกรรม)
  7. รางวัลชมเชยในการประดิษฐ์รถเพื่อการเกษตร, โรงเรียนสตรีวิทยา, 2533 (รางวัลสำหรับนักเรียนผู้สร้างนวัตกรรมทางวิทยาศาสตร์)
สิทธิบัตรและอนุสิทธิบัตร
  1. ขจีพร วงศ์ปรีดี, อดิรุจ พีรวัฒน์, สิทธิชัย หวุ่นสกุล, เครื่องหลอมแท่งถมดำปราศจากตะกั่ว, สิทธิบัตร, เลขที่คำขอ 1701004817, สิงหาคม 2560 (ระหว่างพิจารณา)
  2. ขจีพร วงศ์ปรีดี, ภัทรา ศรีสุโข, พันธุ์พจน์ ฤทัยธนานนท์, สยาม หาบ้านแท่น, สุรธี เกิดสินธิ์, ยาถมดำปราศจากตะกั่ว, สิทธิบัตร, เลขที่คำขอ 1101001747 , กันยายน 2554 (ระหว่างพิจารณา)
ประสบการณ์การทำงาน
ด้านวิชาการและวิจัย
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2551 ถึง ปัจจุบัน
  • นักวิจัย (ระหว่างลาฝึกอบรม), บริษัทเวสเทริน์ดิจิตอล ประเทศสหรัฐอเมริกา 2552-2553 (ด้านมีเดียเทคโนโลยี สาขา ซานโฮเซ่ ด้านเครื่องมือทดสอบ สาขาซานโฮเซ่ สำนักงานใหญ่ ด้านหัวอ่านสาขาฟรีมอนด์)
  • ผู้ช่วยนักวิจัย (ระหว่างลาศึกษาต่อ), Ames Laboratory, US Department of Energy, รัฐไอโอวา, ประเทศสหรัฐอเมริกา 2543-2546)
ด้านบริหาร
  • รักษาการแทนคณบดีวิทยาลัยอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ (ปัจจุบัน)
  • ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายพัฒนาคุณภาพ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (2559 – ปัจจุบัน)
  • หัวหน้าภาควิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (2555 – 2559)
  • รองคณบดีฝ่ายวิชาการ และประกันคุณภาพ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (2552)
  • รองคณบดีฝ่ายประกันคุณภาพและพัฒนาระบบการศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (2550 – 2551)
  • ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (2549-2550)
  • เลขานุการ ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (2547-2549)
ด้านงานที่ปรึกษา
  • โครงการจ้างที่ปรึกษาจัดทำวิธีการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติตามสมรรถนะที่ต่อเนื่องจากการจัดทำร่างมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ, กลุ่มอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย, มกราคม 2559 – มกราคม 2560 (ประธานโครงการ)
  • โครงการจ้างที่ปรึกษาเพื่อจัดทำมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ, กลุ่มอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย, ตุลาคม 2556 - กรกฎาคม 2559 (ประธานโครงการ)
  • โครงการจัดทำร่างวิธีทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ระดับ 1 และระดับ 2, ตุลาคม 2555 - กรกฎาคม 2556 (ประธานโครงการ)
  • โครงการให้คำปรึกษาระบบโรงงานการผลิตทองคำ แก่ฝ่ายพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ และจัดการกองทุนต่างประเทศ , ธนาคารกสิกร, ตุลาคม 2553 (ประธานโครงการ)
  • โครงการให้คำปรึกษาระบบโรงงานการผลิตทองคำ แก่ฝ่ายพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ และจัดการกองทุนต่างประเทศ , ธนาคารกรุงเทพฯ, ตุลาคม 2553 (ประธานโครงการ)
ด้านวิทยากร/อาจารย์พิเศษ
  • อาจารย์พิเศษ
    • เรื่อง มีเดียเทคโนโลยี ในวิชา Fundamental of Disk Drive Technology หลักสูตรนานาชาติวิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต สาขา Industrial System Engineering, Asian Institute of Technology , กันยายน 2554
    • เรื่อง มีเดียเทคโนโลยี ในวิชา Fundamental of Hard Disk Drive Technology หลักสูตรนานาชาติวิศวกรรมศาสตร์มหาบัณฑิต สาขา Data Storage Technology,สถาบันพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง , กรกฎาคม 2554
  • วิทยากรบรรยายพิเศษเทคโนโลยีเครื่องประดับ โครงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านผู้ประกอบการรุ่นใหม่ กระทรวงอุตสาหกรรม 2554
  • วิทยากรบรรยายพิเศษด้านเทคโนโลยีการบันทึกข้อมูล,Introduction to HAMR Technology, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าคุณทหารลาดกระบัง, 4 พฤศจิกายน 2553
  • วิทยากรทองสีม่วงและนวัตกรรมหล่อสัมมนา GIT, กรุงเทพ, ประเทศไทย, 19 สิงหาคม 2551
  • วิทยากรด้านการหล่อเครื่องประดับ (กุมภาพันธ์ 2548 กันยายน 2548 กันยายน 2549 กุมภาพันธ์ 2550, ตุลาคม 2550 กุมภาพันธ์ 2551 กรกฎาคม 2551) โครงการอบรมความรู้ทางด้านอัญมณีและเครื่องประดับ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 2548 – 2551
  • วิทยากรหลักสูตรการหล่อขั้นสูง (ตุลาคม 2548, มีนาคม 2549) หล่อพร้อมฝัง (กรกฎาคม 2548ตุลาคม 2548, มีนาคม 2549) และการดึงหลอด (พฤศจิกายน 2548 กุมภาพันธ์ 2548, เมษายน 2549) โครงการเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันธุรกิจแฟชั่นสาขาอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ ภายใต้โครงการกรุงเทพฯ เมืองแฟชั่น 2548 – 2549
ด้านการเป็นกรรมการวิชาการและวิชาชีพ
  • กรรมการพิจารณาผลงาน กลุ่มโลหะมีค่า, The 4rd GIT International Gem & Jewelry Conference, ธันวาคม 2555
  • กรรมการโครงการรางวัลนวัตกรรมแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 14, สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, 2557
  • ที่ปรึกษาสมาคมเครื่องถมไทยในสมาคมเครื่องถมและเครื่องเงินไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ตุลาคม 2556 ถึงปัจจุบันกรรมการโครงการรางวัลนวัตกรรมแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 13, สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, 2556
  • กรรมการบริหารสมาคมวิทยาศาสตร์ฯ วาระปี 2555-2556, 2557-2558
  • กรรมการคณะกรรมการดำเนินงาน วทท 39 สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์, 2556
  • กรรมการโครงการรางวัลนวัตกรรมแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 12, สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, 2555
  • กรรมการคณะกรรมการดำเนินงาน วทท 38 สมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์, 2555
  • กรรมการพิจารณาผลงาน กลุ่มโลหะมีค่า, The 3rd GIT International Gem & Jewelry Conference, ธันวาคม 2555
  • เลขาธิการที่ประชุมคณบดีแห่งประเทศไทย 2553-2554
  • คณะกรรมการดำเนินงานโครงการวิจัย, การจัดทำกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์,ประชุมคณบดีวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย, 3 พฤศจิกายน 2553
  • กรรมการพิจารณาผลงาน กลุ่มวัสดุศาสตร์, Gold 2009: International Conference on the Science, Technology, and Industrial Applications, สหพันธ์เยอรมนี, กรกฎาคม 2552
  • กรรมการพิจารณาผลงาน กลุ่มโลหะมีค่า, The 2nd GIT International Gem & Jewelry Conference, กุมภาพันธ์ 2552
  • กรรมการและตรวจสอบงบประมาณ, ออกแบบเครื่องประดับไทยแบบโบราณและผลิตภัณฑ์บางไทร ที่ศูนย์ของพระบาทสมเด็จ สมเด็จพระราชินีสิริกิติ์แห่งประเทศไทย กันยายน 2551-ตุลาคม 2552
  • กรรมการและการเรียนการสอนหลักสูตรการพัฒนาต้นแบบเครื่องประดับกระทรวงอุตสาหกรรม มกราคม-กันยายน 2551
  • รองประธานชมรมวิทยาศาสตร์มศว มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ, 2551-2552
  • กรรมพิจารณาทุนการศึกษา, RMAG สกว. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2550
  • กรรมการวิชาการ ที่ปรึกษาและจัดทำหลักสูตร, โครงการเพิ่มขีดความสามารถการแข่งขันธุรกิจแฟชั่นสาขาอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ ภายใต้โครงการกรุงเทพฯ เมืองแฟชั่นมกราคม 2548-กรกฎาคม 2549
  • กรรมพิจารณาทุนการศึกษา, IRPUS , สกว. ภาคอุตสาหกรรม, 2549
  • ผู้เชี่ยวชาญเพชรเพื่อควบคุมขั้นตอนการกำหนดราคาของอัญมณีและเครื่องประดับจัดเก็บกับตำรวจท่องเที่ยวและคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติและองค์การอัญมณีไทยและเครื่องประดับสมาคมผู้ค้า, กรุงเทพ, ประเทศไทย, 2537
  • ประธานของอัญมณีประจำปีครั้งแรกและเทศกาลเครื่องประดับที่เรียกว่า จิวเวลลี่ซีซั่น" เพื่อส่งเสริมให้เกิดขึ้นใหม่จากการคาดหมายทางวิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมเพื่ออายุวัยรุ่นมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพ,ประเทศไทย, 2536
ด้านการเป็นคณะกรรมการบริการวิชาการ
  • ประธานกรรมการ โครงการยกระดับชุมชนให้เป็นหมู่บ้านเครื่องประดับเชื่อมโยงกับการท่องเที่ยวท้องถิ่นจังหวัดสระแก้ว, ปีงบประมาณ 2559
  • ประธานกรรมการ โครงการการกำหนดอัตลักษณ์ผลิตภัณฑ์เครื่องถมกับทรัพยากรธรณีวิทยาท้องถิ่นเพื่อสร้างอาชีพเครื่องประดับในชุมชนวัฒนานคร, ศูนย์บริการวิชาการแก่ชุมชน มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ปีงบประมาณ 2558
  • ประธานกรรมการ โครงการการพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์ภูมิปัญญาไทยด้วยฐานความรู้ทางวิทยาศาสตร์เพื่อนำทุนทางวัฒนธรรมมาเพิ่มมูลค่า, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ปีงบประมาณ 2557
  • ที่ปรึกษาโครงการและกรรมการ โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อให้เกิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของจังหวัดนครนายก,มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ปีงบประมาณ 2557
  • เลขาฯ โครงการ โครงการการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาชุมชนจังหวัดนครนายก,มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ปีงบประมาณ 2556